THE BEST SIDE OF ลดไขมันในเลือด

The best Side of ลดไขมันในเลือด

The best Side of ลดไขมันในเลือด

Blog Article

ปัจจัยเสี่ยงของภาวะไขมันในเลือดสูง

         เมนูอาหารประเภทต้มแบบไม่ใส่กะทิจัดว่าเป็นอาหารไขมันต่ำ คนที่อยากลดไขมันควรรับประทาน โดยสามารถเลือกกินเป็นต้มยำน้ำใส ต้มแซ่บ ต้มจืด หรือถ้าอยากกินต้มยำน้ำข้น ก็สามารถใช้นมอัลมอนด์ กะทิเทียม (จากน้ำมันรำข้าว) กะทิธัญพืช นมพร่องมันเนย หรือนมขาดมันเนยแทนการใส่กะทิแท้จากมะพร้าวได้ ส่วนเนื้อสัตว์ที่ควรเลือกแบบไขมันต่ำ เช่น ปลา ไก่ไม่ติดหนัง หมูไม่ติดมัน กุ้ง และจะดีมากหากเลือกกินผักให้มากขึ้น อย่างการกินต้มจับฉ่ายกระดูกหมู ต้มจืดผักกาดขาว ต้มจืดสาหร่าย ต้มจืดมะระหมูสับไม่ติดมัน ต้มจืดตำลึง ต้มยำปลา ต้มปลาทูสด ต้มยำเห็ด ต้มจืดฟัก ต้มจืดหัวไชเท้า ฯลฯ เพื่อให้ไฟเบอร์ในผักช่วยลดคอเลสเตอรอลในร่างกายไปอีกทาง

           เมนูยำก็ไขมันต่ำ รสชาติจัดจ้านถูกใจคนไทย และทำได้หลากหลาย เช่น ยำวุ้นเส้นหมูสับ ยำตะไคร้ ยำผลไม้รวม ยำเห็ดหูหนูขาว ยำผักกระเฉดกุ้งสด ยำปลาทู ยำไข่ต้ม ยำปลาทูน่า ยำมะม่วง รวมทั้งส้มตำไทย เป็นต้น

กินอาหารประเภทต้ม ต้มยำ ยำ นึ่ง ย่าง อบ

ยาในกลุ่มไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์ที่นิยมเลือกใช้ มีดังนี้

          เราสามารถนำอาหารไปนึ่งได้หลายอย่าง โดยเฉพาะบรรดาผักนึ่งทั้งหลาย เช่น ฟักทองนึ่ง ผักกาดขาวห่ออกไก่นึ่ง จิ้มน้ำจิ้มสามรส หรือจะเป็นปลานึ่งมะนาว ปลานึ่งบ๊วย ปลานึ่งซีอิ๊ว กินแกล้มกับผักหลาย ๆ ชนิดก็เป็นเมนูเพื่อสุขภาพที่อร่อยและไขมันต่ำ ดีต่อคนที่มีไขมันในเลือดสูง

สำหรับผลข้างเคียงของยาลดไขมันในเลือดชนิดนี้

ควบคุมการบริโภคคาร์โบไฮเดรตและไขมัน ควบคุมแหล่งอาหารที่ให้พลังงานส่วนเกินและไม่ให้สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น น้ำตาล ลดหรือเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

           จัดเต็มความแซ่บแบบไขมันต่ำกับเมนูลาบสักหน่อย โดยสามารถนำวัตถุดิบมาทำลาบได้หลากหลายเลยเนอะ ไม่ว่าจะหมู ไก่ ปลา วุ้นเส้น เส้นบุก หน่อไม้ ข้าวโพด เต้าหู้ หรือจะให้ดีก็กินลาบปลาทูน่า หรือลาบปลาทูก็ได้ เพราะกรดไขมันดีในปลาน้ำทะเลเหล่านี้จะช่วยลดไขมันเลวในร่างกายได้ส่วนนึง

ไขมันในเลือดสูงดูจากค่าผลเลือดใดได้บ้าง?

คุณสามารถดูสรุปนโยบายความเป็นส่วนตัวและการใช้คุกกี้ อ่านนโยบายที่นี่

ผู้ที่เริ่มลดไขมันในเลือดควรลดการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ลดไขมันในเลือด โดยเฉพาะไขมันชนิดไขมันอิ่มตัว และไขมันทรานส์ และน้ำตาล ซึ่งเป็นกลุ่มอาหารที่อาจส่งผลให้ระดับคอเลสเตอรอลในร่างกายเพิ่มสูงขึ้นได้

หากมีไขมันมากเกินไปจะเกาะที่ผนังด้านในหลอดเลือด อาจทำให้หลอดเลือดตีบ เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เกิดโรคหัวใจขาดเลือดได้ ที่สำคัญควรตรวจสุขภาพทุกปี โดยเฉพาะการตรวจเช็กสุขภาพหัวใจไม่ควรละเลยอย่างเด็ดขาด

ปัจจัยต่อไปนี้ อาจทำให้เสี่ยงเกิดภาวะไขมันในเลือดสูงได้

Report this page